Cosmenet* ส่งท้ายปีกับไอเทม Redeem แบบจุใจตลอดเดือนธันวาคม 2024!

navigate_beforeย้อนกลับ

pic400
0 

หลอด UVC ไอเทมฆ่าเชื้อสุดเจ๋งในยุคโรคระบาด

หลอดไฟ “ฆ่าเชื้อโรคได้” ไอเทมสุดเจ๋งในยุคโรคระบาด

หลอด UVC หลอดไฟสุดพิเศษ ที่สามารถฆ่าเชื้อโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีการใช้งานอย่างถูกวิธี!

..หลายคนคงจะสงสัยกันแล้วล่ะสิ ว่าเจ้าหลอด UVC นั้นมันคืออะไร แล้วมันฆ่าเชื้อโรคได้จริงหรือเปล่า วันนี้จะมาเล่าเรื่องราวที่น่าสนใจเกี่ยวกับหลอดไฟ UV ฆ่าเชื้อโรคให้ทุกคนได้ฟังกัน!




หลอด UVC หลอดไฟสุดพิเศษที่ไม่ใช่แค่ไฟส่องสว่าง

หลอดไฟยูวีซีนี้ ฆ่าเชื้อโรคได้จริงมั้ย? คำตอบก็คือ “จริง” หลอด UVC นั้นเป็นหลอดไฟที่ถูกผลิตมาเพื่อฆ่าเชื้อโรคโดยเฉพาะ ซึ่งเป็นการนำคุณสมบัติของรังสียูวีจากธรรมชาติมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ ทำให้หลอดไฟยูวีซี ได้กลายเป็นหลอดไฟที่มุีคุณสมบัติในการเผาไหม้และฆ่าเชื้อโรคต่างๆ เมื่อจากการส่องสว่างด้วยรังสีนั้นๆ นั่นเอง แล้วรังสีนี้คืออะไร ฆ่าเชื้อโรคที่ไหนได้บ้าง อันตรายต่อร่างกายมนุษย์หรือไม่ และจะสามารถใช้งานได้ที่ไหนบ้าง ไปดูกันเลย


รังสีกับหลอดไฟ ทำไมถึงฆ่าเชื้อโรคได้

หลอดไฟ UVC ฆ่าเชื้อหรือหลอดไฟ UVC นั้น เป็นหลอดไฟที่ใช้รังสีชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อว่า รังสีอัลตร้าไวโอเลต ที่อยู่ภายนอกชั้นบรรยากาศของโลก และมีพลังในการเผาไหม้ที่สูง โดยหลอดไฟชนิดนี้ จะเลือกใช้รังสี UVC ที่มีคลื่นสั้นมาที่สุดในบรรดารังสี UV ชนิดต่างๆ (UVA และ UVB) ซึ่งโดยปกติแล้วรังสี UVC นั้นจะไม่สามารถผ่านเข้ามาสู่ชั้นบรรยากาศของโลกได้ หรือผ่านเข้ามาได้ยากมากๆ จึงได้มีการนำมาประยุกต์และประดิษฐ์เป็นหลอดไฟ UVC ที่สามารถฆ่าเชื้อโรคได้นั่นเอง

  

          หลอดไฟ UVC ฆ่าเชื้อโรคที่ไหนได้บ้าง

จากที่ได้บอกไปว่าหลอด UVC นั้นได้นำเอาความสามารถในการเผาไหม้ของรังสี UVC มาใช้ ทำให้กลายเป็นหลอดไฟ UV ฆ่าเชื้อโรคที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด! สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ทั้ง เชื้อไวรัส และเชื้อแบคทีเรีย ให้หายไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยรังสี UVC ที่ปล่อยออกมาจะไปเผาไหม้เชื้อโรคเหล่านั้นจนหมดสิ้น ซึ่งรังสี UVC นั้นมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อได้ดังนี้

- ฆ่าเชื้อโรคในอากาศ  

- ฆ่าเชื้อโรคในน้ำ

- ฆ่าเชื้อโรคบนพื้นผิวต่างๆ 




หลอด UVC ใช้งานที่ไหนได้บ้าง

การใช้งานหลอดไฟ UVC ฆ่าเชื้อนั้น มักถูกนำไปใช้เพื่อประโยชน์ในด้านของความสะอาดและการปลอดเชื้อในสถานที่ต่างๆ ดังนี้

- สถานพยาบาล โรงพยาบาล ห้องปลอดเชื้อ

- สถานที่วิจัย ห้องแลป

- อุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมอาหาร น้ำดื่ม และบรรจุภัณฑ์

- ประยุกต์ใช้ในครัวเรือน


ความอันตรายที่ป้องกันได้ของหลอดไฟ UVC กับร่างกายมนุษย์

เนื่องจากหลอดไฟ UV ฆ่าเชื้อโรคนั้นฆ่าเชื้อโรคด้วยการเผาไหม้ ทำให้หากมนุษย์เราไปสัมผัสหรือได้รับรังสีชนิดนี้เป็นเวลานานๆ ก็อาจจะได้รับผลกระทบต่อร่างกายได้ ซึ่งก็คือ


- ผิวหนังไหม้ ระคายเคือง มีผื่นหรือรอยแดง

- ดวงตาพร่า อักเสบ หรือมีการระคายเคือง

- หากสะสมเป็นเวลานานๆ อาจเสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนัง


แต่ก็ไม่ต้องกังวลไปเพราะเราก็สามารถป้องกันอันตรายจากการใช้งานหลอดไฟ UVC ฆ่าเชื้อนี้ได้ ด้วยการสวมใส่เสื้อผ้าที่แน่นหนาและรัดกุม ปกปิดมิดชิด ใส่อุปกรณ์ป้อกันดวงตาหรือแว่นตา เพื่อป้องกันรังสีเข้าสู่ดวงตาโดยตรงนั่นเอง 


โดยทางเราขอเสริมอีกว่า ก่อนการใช้งานหลอด UVC ควรจะมีการกำหนดระยะเวลาการใช้งานที่แน่นอน และมีการติดตั้งป้านเตือนผู้อื่น ว่ากำลังมีการใช้งานหลอดไฟที่มีรังสี UVC นี้อยู่ เพื่อป้องกันอันตรายจากรังสีไปสู่ผู้อื่นอีกด้วย

29 ความคิดเห็น

ความคิดเห็นที่ 1
ขอบคุณค่ะ
22 ส.ค. 2564 เวลา 16:25 น.
ความคิดเห็นที่ 2
ขอบคุณมากๆค่ะ 
22 ส.ค. 2564 เวลา 16:42 น.
ความคิดเห็นที่ 3
ขอบคุณค่ะ
22 ส.ค. 2564 เวลา 17:03 น.
ความคิดเห็นที่ 4
ขอบคุณค่ะ
22 ส.ค. 2564 เวลา 18:53 น.
ความคิดเห็นที่ 5
น่าลองใช้มากค่ะ
22 ส.ค. 2564 เวลา 20:03 น.
ความคิดเห็นที่ 6
ขอบคุณ​ค่ะ​
22 ส.ค. 2564 เวลา 20:35 น.
ความคิดเห็นที่ 7
ขอบคุณค่ะ
22 ส.ค. 2564 เวลา 20:45 น.
ความคิดเห็นที่ 8
Thx ka
22 ส.ค. 2564 เวลา 21:28 น.
ความคิดเห็นที่ 9
ขอบคุณค่ะ
22 ส.ค. 2564 เวลา 21:55 น.
ความคิดเห็นที่ 10
ขอบคุณค่า
22 ส.ค. 2564 เวลา 21:58 น.
ความคิดเห็นที่ 11
ขอบคุณค่ะ
22 ส.ค. 2564 เวลา 22:33 น.
ความคิดเห็นที่ 12
ขอบคุณค่ะ
22 ส.ค. 2564 เวลา 22:49 น.
ความคิดเห็นที่ 13
โว้วว สุดล้ำ
22 ส.ค. 2564 เวลา 23:47 น.
ความคิดเห็นที่ 14
ขอบคุณค่ะ
22 ส.ค. 2564 เวลา 23:51 น.
ความคิดเห็นที่ 15
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 0:30 น.
ความคิดเห็นที่ 16
Thx
23 ส.ค. 2564 เวลา 1:23 น.
ความคิดเห็นที่ 17
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 1:50 น.
ความคิดเห็นที่ 18
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 2:06 น.
ความคิดเห็นที่ 19
ขอบคุนค่า
23 ส.ค. 2564 เวลา 3:34 น.
ความคิดเห็นที่ 20
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 5:35 น.
ความคิดเห็นที่ 21
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 8:10 น.
ความคิดเห็นที่ 22
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 8:27 น.
ความคิดเห็นที่ 23
ขอบคุณที่มาแชร์กันนะคะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 8:55 น.
ความคิดเห็นที่ 24
น่าสนใจค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 9:08 น.
ความคิดเห็นที่ 25
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 10:02 น.
ความคิดเห็นที่ 26
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 10:03 น.
ความคิดเห็นที่ 27
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 11:12 น.
ความคิดเห็นที่ 28
ขอบคุณค่ะ
23 ส.ค. 2564 เวลา 13:35 น.
ความคิดเห็นที่ 29
ขอบคุณที่สาวๆชอบกันนะค้า หวังว่าจะเป็นประโยชน์กับทุกคนในยุคโควิดนี้นะคะ
30 ส.ค. 2564 เวลา 1:28 น.
What's new
ป้ายยา 5 อันดับครีมกันแดดหน้า ยี่ห้อไหนดี บางเบา ซึมง่าย สบายผิว จากรีวิวผู้ใช้จริงแนะนำ 5 อันดับไอเท็มจัดการฝ้าซ้ำซาก จะฝ้าแบบไหนก็เอาอยู่ รวมตั้งแต่หลักร้อยจนถึงหลักพัน รีวิว 5 รองพื้นผิวโกลว์ บางเบาแต่ปกปิดเนียนกริบ ติดทนตลอดวันETUDE ส่งท้ายปีกับคอลเลคชั่นใหม่ Dear My Bestie ด้วยความน่ารักแบบเกินต้าน!Sea Moss Gel คืออะไร? ส่อง 5 คุณประโยชน์ของ Sea Moss ที่สายเฮลตี้ต้องรู้อัปเดต 14 เรตินอลตัวปัง 2025 ยี่ห้อไหนใช้ดีหน้าใส ขนมาหมด!บอกต่อ! 11 ยาสีฟันสมุนไพร ยี่ห้อไหนดี แก้ปวดฟัน ลดอาการเหงือกบวมอักเสบดูดวงความรัก การงาน การเรียน การเงิน ระหว่าง 22 - 28 ธ.ค. 67 (ทุกราศี) เท้าแตก ทําไงดี? 5 สูตรสครับแก้เท้าแตก ให้ผิวเนียนนุ่ม ไร้กลิ่นไม่พึงประสงค์Cosmenet* ส่งท้ายปีกับไอเทม Redeem แบบจุใจตลอดเดือนธันวาคม 2024!